พระครูปริยัติรัตนคุณบัณฑิต, รศ.ดร.
ผู้อำนวยการสถาบันภาษา
035-248-000 ต่อ 8032
สถานที่เกิด
|
๙๐ หมู่ ๘ บ้านพัฒนา ต.หนองไผ่ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ ๓๓๐๐๐
|
ตำแหน่งทางวิชาการ
|
รองศาสตราจารย์ |
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์
|
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
|
ที่อยู่ปัจจุบัน
|
เลขที่ ๓ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๒๑๐๐
|
สถานที่ทำงาน
|
อาคารสำนักงานอธิการบดีห้อง ๒๐๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต. ล าไทร อ.วังน้อย จ. พระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐ โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๒๔ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๓๔ และสถาบันภาษา อาคารเรียนรวม ชั้น ๔ มจร อยุธยา
|
การติดต่อ
|
๐ ๓๕๒๔ ๘๐๒๔ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๓๔ E-Mail: pairat@mcu.ac.th
|
การศึกษา
|
-นักธรรมเอก (พ.ศ. ๒๕๒๕) -เปรียญธรรม ๔ ประโยค (พ.ศ. ๒๕๓๒) -พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๕) -อ.ม.(ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๙) -ปร.ด. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (พ.ศ. ๒๕๕๘) |
ตำแหน่งปัจจุบัน |
-เป็นอาจารย์ประจำคณะพุทธศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย (ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙) -เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวิชา ปรัชญา (๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๑) -อาจารย์ประจำและรับผิดชอบหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา -เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี (ตามคำสั่งที่ ๓๗๕/๒๕๕๓ มีผลตั้งแต่วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๓) -เป็นผู้รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถาบันภาษา(ตามคำสั่งที่ ๑๑๙๓/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕)
|
|
|
ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย
|
ผลงานทางวิชาการ / งานวิจัย |
ปี พ.ศ. |
เรื่อง กัลยาณมิตรในพระพุทธศาสนากับปรัชญาตะวันตก : บูรณาการเพื่อความสมานฉันท์ในสังคมไทย |
๒๕๕๙ |
เรื่อง กระบวนการจิตอาสาเฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัยบนท้องถนน อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย |
๒๕๖๒ |
เรื่อง พระสงฆ์กับการพัฒนาจิตสำนึกต่อต้านการประพฤติทุจริตในสังคมไทย |
๒๕๖๓ |
|
ตำราวิชาการ
|
หนังสือ (๑) หนังสือ “ปรัชญาการเมืองตะวันออก” จัดพิมพ์โดย ส นักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๑ (๒) เอกสารประกอบการสอนระดับปริญญาตรี รายวิชา “อภิปรัชญา”, ๒๕๖๐ (๓) หนังสือ “ญาณวิทยา”, ๒๕๖๔ (๔) เอกสารคำสอนวิชา “สุนทรียศาสตร์”, ๒๕๖๔ บทความ (๑) บทความเรื่อง “Kant’s Theory of Knowledge” (ตีพิมพ์ในหนังสือรวมบทความ ทางวิชาการ เรื่อง “มหาจุฬาวิชาการ” พ.ศ. ๒๕๕๐ หน้า ๔๘๙-๕๒๔) (๒) บทความเรื่อง “Kalyāṇamitta of Buddhism and Kantian Friendship as Path to Liberation” (ตีพิมพ์ในวารสารของ International Association for Buddhist Thought & Culture, the Department of Buddhist Studies of Dongguk Univ. Seoul, Korea ชื่อวารสาร International Journal of Buddhist Thought & Culture ฉบับเดือน September 2015, Vol. 25, pp. 123-41. เผยแพร่ใน http:/dx.doi.org/10.1689/IJBTC.25.6) (๓) บทความเรื่อง “การบูรณาการโยนิโสมนสิการสู่การศึกษาไทยเพื่อพัฒนาการคิดเชิง วิเคราะห์” (ตีพิมพ์ในวารสาร มหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ หน้า ๑๐๙-๑๓๕) (๔) บทความเรื่อง “วิถีแห่งผู้น าและระบอบการปกครอง:ธรรมราชย์ จอมปราชญ์ จอม ธรรม” (ตีพิมพ์ในวารสาร มหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙ หน้า ๑๘-๔๒ และใน สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต ประจ าปี ๒๕๖๐ หน้า ๒๒๑-๒๔๔) (๕) บทความวิจัยเรื่อง “กัลยาณมิตรในพระพุทธศาสนากับปรัชญาตะวันตก:บูรณาการเพื่อ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย” (ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๐ หน้า ๕๔-๗๐) (๖) บทความเรื่อง “พุทธวิธีในการปรองดอง” (ตีพิมพ์ในสารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต ประจ าปี ๒๕๖๑ หน้า ๖๖-๘๕ และใน วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ เนื่อง ในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๑ หน้า ๑๗๖-๑๙๖) (๗) บทความวิจัยเรื่อง “กระบวนการจิตอาสาเฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัยบนท้องถนน อ าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย” (ตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๒ The 2nd Proceeding National Conference MCURK 2019 เรื่อง “ฟื้นชีวิตคืนจิต วิญญาณทวารวดี” หน้า ๘๔๘-๘๕๙) (๘) บทความวิจัยเรื่อง “พระสงฆ์กับการพัฒนาจิตส านึกต่อต้านการประพฤติทุจริตใน สังคมไทย” ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๔ หน้า ๑๓๖ - ๑๔๕) (๙) บทความเรื่อง “มโนทัศน์เรื่องความยุติธรรม” ตีพิมพ์ใน วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔ หน้า ๓๔๕-๓๖๑)
|
|
|
|
|